วิธีการเชื่อมต่อกับ Microsoft Dynamics AX โดยใช้ C # หรือโดยการใช้ .Net Connector
เบื้องต้น
บทความนี้จะอธิบายถึงวิธีการเชื่อมต่อกับ Microsoft Dynamics AX โดยใช้ C # บทความนี้มีตัวอย่างโค้ด C # ที่จะแสดงวิธีการเชื่อมต่อกับ Microsoft Dynamics AX โดยใช้ Connector บทความนี้ยังมีโปรแกรมภาษาซีตัวอย่างที่แสดงวิธีการเชื่อมต่อกับ Microsoft Dynamics AX โดยใช้. NET Business Connector
C # ตัวอย่างรหัสต่อไปนี้แสดงวิธีการเชื่อมต่อกับ Microsoft Dynamics AX โดยใช้ .Net Connector
ตัวอย่างต่อไปนี้ Code C# แสดงวิธีการเชื่อมต่อกับ Microsoft Dynamics AX โดยใช้. NET Business Connector ให้ทำตามขั้นตอนเหล่านี้
1 สร้างโครงการ C ให้โครงการใหม่ชื่อดังต่อไปนี้
Example
2 เพิ่มปุ่มควบคุมการทำงานและการควบคุม richtext กล่องให้กับโครงการใหม่
3 ค้นหา \ \ \ \ โฟลเดอร์ลูกค้า bin \ แล้วคลิกแฟ้ม Microsoft.Dynamics.BusinessConnectorNet.dll
4 ในการตั้งค่าของผู้ใช้พร็อกซี่ใน Microsoft Dynamics AX ให้ทำตามขั้นตอนเหล่านี้
5 คัดลอกโค้ดต่อไปนี้เป็นเหตุการณ์คลิกของปุ่มควบคุม
การใช้ระบบ
using System;
using System.Collections.Generic;
using System.ComponentModel;
using System.Data;
using System.Drawing;
using System.Text;
using System.Windows.Forms;
namespace Example
{
public partial class Form1 : Form
{
public Form1()
{
InitializeComponent();
}
private void button1_Click(object sender, EventArgs e)
{
Microsoft.Dynamics.BusinessConnectorNet.Axapta DynAx;
System.Net.NetworkCredential nc = new System.Net.NetworkCredential("ProxyUserId", "password");
string strUserName;
DynAx = new Microsoft.Dynamics.BusinessConnectorNet.Axapta();
strUserName = "Dynamic Ax user id";//ex: cjohnso
try
{
DynAx.LogonAs(strUserName.Trim(), "", nc, "", "", "", "");
richTextBox1.Text = "Success";
}
catch (Exception ex)
{
MessageBox.Show(ex.ToString());
MessageBox.Show(ex.Message);
}
}
}
}
ลองดูน่ะครับ

เปิด ตัว Thai-Axapta's Channel รวบรวม Video ภาษาไทยเกี่ยวกับ Dynamics AX

เพื่อเผยแพร่ความรู้ ในรูปแบบ VIDEO ดังตัวอย่างด้านล่างแล้วอย่าลืมแวะเข้ามาเยี่ยมน่ะครับ
http://www.youtube.com/user/thaiaxapta
By SuperS
(เพิ่มเติม เป็น VIDEO) วิธีติดตั้งลง Install Dynamics AX2009 บน Windows 7
หลังได้เปิดตัว Thaiaxapta's Channel ก็เลยลองระบบซ๊ะหน่อย ลองเอาหัวข้อเดิมที่เคย Post อย่าง "วิธีติดตั้งลง Install Dynamics AX2009 บน Windows 7" ดังด้านหล่าง
จากทดลองลง Dynamics AX 2009 บนระบบ Window 7 ไม่สนับสนุนการติดตั้ง จากปัญหาดังกล่าวได้เข้าไปตรวจสอบใน Customer source พบว่าจะต้องทำดังต่อไปนี้
(VIDEO เพิ่มเติม)
จากทดลองลง Dynamics AX 2009 บนระบบ Window 7 ไม่สนับสนุนการติดตั้ง จากปัญหาดังกล่าวได้เข้าไปตรวจสอบใน Customer source พบว่าจะต้องทำดังต่อไปนี้
- ติดตั้ง Microsoft . NET Framework 4
- Install Dynamics AX 2009
(VIDEO เพิ่มเติม)

วิธีการลงติดตั้ง Install Dynamics AX2009 บน Windows 7 (Step by Step)
หลังจากทดลองลง Dynamics AX 2009 บนระบบ Window 7 ไม่สนับสนุนการติดตั้ง จากปัญหาดังกล่าวได้เข้าไปตรวจสอบใน
Customer source พบว่าจะต้องทำดังต่อไปนี้
1.หลังติดตั้ง .Net Framework 4 ก็เริ่มการติดตั้งกันเลยเริ่มกับ check box ยอมรับเงื่อนไข ข้อตกลงการใช้
3.เลือกประเภท Database server หัวข้อ หนึ่งและสองใช้กับ MSSQL โดย 1.Connect new SQL Server สำหรับ new data ใหม่ 2.กรณีที่มี database อยู่แล้ว 3.สำหรับ database ของ Oracle
4.ระบุ Folder ที่จะติดตั้ง
5. ระบุชื่อ SERVER ของ MSSQL และ Database name
6.ระบุ Application instance file ระบบจะ Default ให้
7.ระบุ Region เลือก (None) เนื่องจากไม่มีภาษาไทย
8. Instance name ของ AOS
9.ระบุ Account สำหรับใช้ Run Service ของ AOS ให้เลือก Network Service
10.เลือกภาษาที่แสดงผลเราจะเลือก ภาษา อังกฤษ
11.เลือกภาษาที่จะใช้กับ Help
12.สรุปรายการที่จะ Install
13.เริ่มการติดตั้ง
14.หลังจากติดตั้งเสร็จจะแสดงผลการติดตั้งถ้าเป็นสีเขียวแปลว่าติดตั้งได้สมบูรณ์
15.ตรวจสอบ Service ว่า Start เสร็จสินหรือไม่ (Status =Starting --> Started)
16.เริ่ม Run Microsoft Dynamics AX 2009
17.หน้าแรก Microsoft Dynamics AX2009 ระบบจะให้กำหนด ความเป็นส่วนตัวให้เราเรื่องระบุข้อที่ 3 เพื่อกำหนดในภายหลัง
18.ไชโยสำเร็จแล้ว
By SupperS
Customer source พบว่าจะต้องทำดังต่อไปนี้
- ติดตั้ง Microsoft . NET Framework 4
- Install Dynamics AX 2009
1.หลังติดตั้ง .Net Framework 4 ก็เริ่มการติดตั้งกันเลยเริ่มกับ check box ยอมรับเงื่อนไข ข้อตกลงการใช้
3.เลือกประเภท Database server หัวข้อ หนึ่งและสองใช้กับ MSSQL โดย 1.Connect new SQL Server สำหรับ new data ใหม่ 2.กรณีที่มี database อยู่แล้ว 3.สำหรับ database ของ Oracle
4.ระบุ Folder ที่จะติดตั้ง
5. ระบุชื่อ SERVER ของ MSSQL และ Database name
6.ระบุ Application instance file ระบบจะ Default ให้
7.ระบุ Region เลือก (None) เนื่องจากไม่มีภาษาไทย
8. Instance name ของ AOS
9.ระบุ Account สำหรับใช้ Run Service ของ AOS ให้เลือก Network Service
10.เลือกภาษาที่แสดงผลเราจะเลือก ภาษา อังกฤษ
11.เลือกภาษาที่จะใช้กับ Help
12.สรุปรายการที่จะ Install
13.เริ่มการติดตั้ง
14.หลังจากติดตั้งเสร็จจะแสดงผลการติดตั้งถ้าเป็นสีเขียวแปลว่าติดตั้งได้สมบูรณ์
15.ตรวจสอบ Service ว่า Start เสร็จสินหรือไม่ (Status =Starting --> Started)
16.เริ่ม Run Microsoft Dynamics AX 2009
17.หน้าแรก Microsoft Dynamics AX2009 ระบบจะให้กำหนด ความเป็นส่วนตัวให้เราเรื่องระบุข้อที่ 3 เพื่อกำหนดในภายหลัง
18.ไชโยสำเร็จแล้ว
By SupperS
เตรียม ตัวให้พร้อมก่อนใช้ Microsoft Dynamics AX 4.0
ไมโครซอฟท์สนับสนุนข้อแนะนำ
เซิร์ฟเวอร์ และไคลเอนท์สำหรับ Microsoft Dynamics AX 4.0 (เดิมเรียกว่า Microsoft Business Solutions-Axapta) ดังต่อไปนี้ สำหรับฮาร์ดแวร์ที่ต้องการน
ต้องเพิ่มความต้องการขึ้นกว
ไคลเอนท์
เซิร์ฟเวอร์
ความต้องการด้านฮาร์ดแวร์ขั
ไคลเอนท์
Microsoft Windows Installer Microsoft Windows Installer 2.0
Microsoft Office 2003 Web Components จำเป็นสำหรับความสามารถในกา
ผู้ใช้จะได้รับคุณสมบัติด้า
กลับไปยังส่วนบนของหน้า
ระบบปฏิบัติการ
Microsoft Windows XP Professional Service Pack 2 (5.1.2600)
Microsoft Windows 2000 Server Service Pack 4
Microsoft Windows Server 2003, Web Edition Service Pack 1
Microsoft Windows Server 2003, Enterprise Edition Service Pack 1
Microsoft Windows Server 2003, Datacenter x64 Edition Service Pack 1 - Microsoft Dynamics AX ไม่ได้ใช้ประโยชน์จากการทำง
Microsoft Windows Small Business Server 2003, Standard Edition Service Pack 1
กลับไปยังส่วนบนของหน้า
เซิร์ฟเวอร์
Application Object Server (AOS)
Microsoft .NET connection softwarel Microsoft .NET Framework 2.0 - หากไม่มีอยู่ในระบบ จะมีการติดตั้งให้พร้อมกับก
Operating system for AOS and Internet Information Services (IIS)
Microsoft Windows Server 2003, Web Edition Service Pack 1
Microsoft Windows Server 2003, Enterprise Edition Service Pack 1
Microsoft Windows Server 2003, Datacenter x64 Edition Service Pack 1 - Microsoft Dynamics AX ไม่ได้ใช้ประโยชน์จากการทำง
Microsoft Windows 2003 IA64 Service Pack 1
Microsoft Windows Small Business Server 2003, Premium Edition Service Pack 1 (เป็นองค์ประกอบที่ต้องการ)
เซิร์ฟเวอร์ฐานข้อมูล
Microsoft SQL Server network libraries ถูกติดตั้ง
ฐานข้อมูล
การติดตั้งจะรองรับฐานข้อมู
ฐานข้อมูล ระดับการสนับสนุน
Microsoft SQL Server 2000 Desktop Edition Service Pack 4 (ไม่สนับสนุนการทำรายงาน) สำหรับการสาธิตเท่านั้น
Microsoft SQL Server 2000 Standard Edition Service Pack 4 (ไม่สนับสนุนการทำรายงาน) สำหรับการสาธิตเท่านั้น
Microsoft SQL Server 2000 Enterprise Edition Service Pack 4 ผ่านการรับรองแล้ว
Microsoft SQL Server 2000 (64-bit) Developer Edition (ไม่สนับสนุนการทำรายงาน) สำหรับการสาธิตเท่านั้น
Microsoft SQL Server 2005 Standard Edition สนับสนุน
Microsoft SQL Server 2005 (64-bit) Itanium Enterprise Edition สนับสนุน
Microsoft SQL Server 2005 Enterprise Edition ผ่านการรับรองแล้ว
Oracle Database 10g Release 2 Enterprise Edition Microsoft Dynamics AX 4.0 รุ่นแรกไม่สนับสนุนฐานข้อมู
ตัวควบคุมโดเมนของ Active Directory
Domain Name Service (DNS) ถูกติดตั้งและทำงาน
ระบบปฏิบัติการสำหรับตัวควบ
Microsoft Windows 2000 Server Service Pack 4 หรือ 5
Microsoft Windows 2000 Advanced Server Service Pack 4 หรือ 5
Microsoft Windows Server 2003, Standard Edition Service Pack 1
Microsoft Windows Server 2003, Enterprise Edition Service Pack 1
Microsoft Windows Server 2003, Datacenter Edition Service Pack 1
Microsoft Windows Server 2003, Datacenter x64 Edition Service Pack 1 - Microsoft Dynamics AX ไม่ได้ใช้ประโยชน์จากการทำง
Microsoft Windows Server 2003, Enterprise x64 Edition Service Pack 1
Microsoft Windows Small Business Server 2003, Standard Edition Service Pack 1
Microsoft Windows Small Business Server 2003, Premium Edition Service Pack 1
ไฟล์เซิร์ฟเวอร์สำหรับแอพพล
เป็นไฟล์เซิร์ฟเวอร์ที่ไม่ต
ระบบปฏิบัติการ
ระบบปฏิบัติการ Microsoft Windows รุ่นใดก็ได้ที่สามารถให้บริ
กลับไปยังส่วนบนของหน้า
ความต้องการด้านฮาร์ดแวร์ขั
ความต้องการขั้นต่ำจะขึ้นอย
รายการ ความต้องการ
ดิสก์ ตามความต้องการขั้นต่ำของ Microsoft SQL Server
CD-ROM ต้องการ
เนื้อที่ว่างในฮาร์ดดิสก์ 700 MB
กลับไปยังส่วนบนของหน้า
ขอขอบคุณสำหรับ ข้อมูล จาก Microsoft Thailand
เงื่อนไข การบันทึกใบแปรรูป (Bills of material) ไม่ให้เกิดผลกระทบกับระบบต้นทุน
เงื่อนไข การบันทึกใบแปรรูป (Bills of material)
วัตถุประสงค์ เพื่อป้องกันปัญหาต่าง ๆ ที่เกิดจาก ความไม่สัมพันธ์กัน (Lot ID) ของชุด Item ที่บันทึกในการแปรรูป(Bills of material)
เมื่อ กดปุ่ม Lines
1. Line ที่1. ให้บันทึก Item แม่ ที่เป็น BOM (Stock ขาบวก) ก่อนเสมอ
**สังเกตุที่ Tab General (Line แม่) ระบบจะให้รหัส Lot ID อัตโนมัติ
2. Line ที่2. .ให้บันทึก Item ลูก ที่เป็น BOM line(Stockขาลบ) โดยระบบจะอัดค่า Lot id ของแม่ให้อัตโนมัติ ที่ Field Finished item lot (ลูกต้อง อ้างถึง Lot ID ของแม่เสมอ)

**สังเกตุ ที่ Tab General(Line ลูก) ระบบจะใส่ค่า Lot ID ของ Item แม่ ให้อัตโนมัติที่ Finished item lot

กรณีที่ใน 1 Journal มีแปรรูปมากกว่า 1 ชุด ก็ให้บันทึกตามเงื่อนไขดังกล่าวทุก ๆ ชุด
ปัญหาที่เกิด
เนื่องจาก กรณีที่บันทึกสลับเงื่อนไข ระบบจะให้ผู้ใช้เลือกค่า Lot ID ของแม่ ใส่ใน Line ลูกเอง พบปัญหาดังนี้
- ในกรณีที่ Journal มีการแปรรูปมากกว่า 1 ชุด ผู้ใช้อาจจะเลือก Lot ID (แม่) สลับชุดได้
- มีการไปใส่ค่า Finished item lot ให้กับLine แม่ ซึ่งจริง ๆ ต้องไม่มี
ซึ่งทั้งหมดจะทำให้เกิดผลกระทบ ดังนี้
1. ในระบบ Transaction ของ Item เกิดการ Reference type BOM และ BOM line สลับกัน (ไม่ตรงกับหน้าบันทึกใน Journal)
2. มีผลกับราคาต้นทุน ที่ไม่ถูกต้อง
BY Vassana Udomphol
แน่ะนำ web สำหรับเปรียบเทียบ EPR แต่ละค่าย เพื่อเป็นข้อมูลเบื้องต้น
(คำถาามนี้เจอสมาชิกถามบ่อยเลยจัดให้ครับ)
ผมได้เจอ web สำหรับเปรียบเทียบระบบ ERP แต่ละระบบ ผมลอง TEST เลือก Microsoft dynamics (ไม่สามารถเลือกย่อยได้ครับ) ,SAP และ ORACLE ได้ข้อมูลดังด้านล่างนี้ครับ
โดย SupperS
ผมได้เจอ web สำหรับเปรียบเทียบระบบ ERP แต่ละระบบ ผมลอง TEST เลือก Microsoft dynamics (ไม่สามารถเลือกย่อยได้ครับ) ,SAP และ ORACLE ได้ข้อมูลดังด้านล่างนี้ครับ
![]() | ![]() | ![]() |
View Profile | View Profile | View Profile | |
Product Names | Microsoft Dynamics ERP Microsoft Dynamics Supply Chain Management Solutions Microsoft Dynamics Manufacturing Solutions Microsoft Dynamics GP for HR Management Microsoft Dynamics Financial Management Solutions | SAP ERP Human Capital Management SAP ERP Financials SAP ERP Operations SAP Manufacturing SAP Supply Chain Management Solutions SAP Supplier Relationship Management (SAP SRM) | Oracle Supply Chain Management Oracle Human Capital Management Oracle Financial Management Solutions Oracle Procurement Applications |
Customer Focus | สถาบันองค์กรขนาดเล็กและขนาดกลาง, ธุรกิจสถาบันของรัฐและการศึกษา | องค์กรทุกขนาดสามารถใช้โซลูชั่น SAP | ขนาดเล็กและ บริษัท ขนาดกลางและองค์กรขนาดใหญ่ในหลากหลายอุตสาหกรรมภาครัฐและเอกชน |
Highlights | * การสนับสนุนจากความแข็งแรงของ Microsoft หนึ่งใน บริษัท ไอทีที่ใหญ่ที่สุดในโลก commerce * ธุรกิจซอฟต์แวร์การจัดการ Complete : ERP, e, ห่วงโซ่อุปทาน, การผลิต, CRM, HR, การบัญชีโครงการ * จัดส่งผ่านเครือข่ายทั่วโลก Microsoft Certified Partners * ผูกด้วยโปรแกรม Microsoft อื่น ๆ เพื่อเพิ่มผลผลิตและปรับปรุงกระบวนการ | * อเมริกา SAP เป็นธุรกิจของ บริษัท ใหญ่ที่สุดในโลกซอฟต์แวร์และผู้ผลิตซอฟต์แวร์ขนาดใหญ่อันดับสามรวม * Comprehensive โซลูชั่น ERP สนับสนุนมากกว่า 43,400 ลูกค้าใน 120 ประเทศทั่วโลก แพคเกจ * อัพเกรดง่ายทำงานนวัตกรรมใหม่โดยการเพิ่มประสิทธิภาพของ SAP | * หลากหลายโปรแกรมการจัดการห่วงโซ่อุปทานตอบสนองความต้องการของ บริษัท ทุกขนาดในทุกอุตสาหกรรม * ผู้ชนะรางวัลหลาย : Best Supply Chain Management System'Intelligent Enterprise 2007 Readers'Choice Award,'The Supply Chain Software Award'Supply Chain Excellence Awards จัดโดย SCMLogistics World 2006 * Oracle เป็นหนึ่งใน บริษัท ที่ใหญ่ที่สุดในเสนอโปรแกรมซอฟต์แวร์โลกเกือบทุก บริษัท ต้องดำเนินธุรกิจของ |
Pricing | $8,000 - $250,000+ | $25 - $250,000+ | $12,000 - $350,000+ |
Technology | Microsoft พัฒนาและจัดจำหน่ายได้รับอนุญาตเป็นส่วนใหญ่โซลูชันทางธุรกิจซอฟต์แวร์ | Enterprise Service - Oriented Architecture (SOA Enterprise) เป็นพิมพ์เขียวที่นำสถาปัตยกรรมปรับตัวยืดหยุ่นและเปิด IT เพื่อพัฒนาโซลูชันทางธุรกิจ | Oracle Application Integration Architecture แบบเปิด มาตรฐานช่วยให้คุณสามารถสร้างกระบวนการทางธุรกิจที่คล่องตัว span ขอบเขตใบสมัครในขณะที่เวลาสั้นลงอย่างมากค่า |
View Profile | View Profile | View Profile |
โดย SupperS
แผนงาน ขั้นตอนการวางแผนการนำ ERP มาใช้ในองค์กรณ์
ได้คุยท่านสมาชิกท่านหนึ่งประสบปัญหาขั้นตอนการเลือกซอฟท์แวร์ ERP และ Consult เลยลอง Search หาบทความเพื่อเป็นแนวทางในการตัดสินใจ มาฝากครับ
สำหรับขั้นตอนวิธี การพิจารณา เลือกใช้ซอฟท์แวร์ ERP เราขอแนะนำวิธีการเลือกไว้เพื่อเป็นแนวทางสำหรับท่านผู้บริหารใช้ในการ ตัดสินใจ ตามขั้นตอนต่อไปนี้
1. Setup Steering Committee (for oranization with large size) and Setup Working Team
ขั้นตอนการแต่งตั้ง Steering Committee นี้ เหมาะสำหรับองค์กรธุรกิจขนาดใหญ่ ที่จำเป็นต้องร่วมกันตัดสินใจ ในโครงการที่สำคัญ หรือที่มีผลกระทบกับองค์กรโดยรวม ซึ่งหากเป็นองค์กรขนาดกลางถึงเล็ก อาจข้ามขั้นตอนนี้ไปได้ เพราะผู้มีอำนาจสูงสุดในการตัดสินใจอาจเป็นบุคคลเพียงคนเดียว เช่น เจ้าของ กรรมการผู้จัดการ(Managing Director) ผู้จัดการทั่วไป(General Manager) เป็นต้น
คณะกรรมการชุดนี้ ไม่ได้มีเพื่อเข้าไปทำงานโดยตรง แต่จะเป็นคณะทำงานที่คอยเฝ้าดูแล กำกับแนวทางการทำงาน ให้การคัดเลือกซอฟท์แวร์ เป็นไปในทิศทางที่องค์กรต้องการ กำหนดงบประมาณในการลงทุน และสุดท้ายเป็นผู้ตัดสินใจ ในการสรุปเลือกซอฟท์แวร์ กรรมการชุดนี้ ควรมีขนาดตั้งแต่ 3-5 คน แต่ไม่ควรมีเกินกว่า 7 คนเพราะจะทำให้เกิดความไม่คล่องตัว กรณีต้องประชุมเพื่อร่วมกันตัดสินใจ คณะกรรมการ อาจคัดเลือกมาจากหัวหน้างาน ในแต่ละฝ่าย ที่มีผลกระทบจากการใช้ซอฟท์แวร์ ERP ส่วนประธานคณะกรรมการ อาจเป็นบุคคล ที่ได้รับมอบหมายหรืออาจเป็น CEO ก็ได้
ต่อมาจึงทำการตั้งทีมงาน หรือคณะทำงาน เพื่อศึกษาในรายละเอียด ฟังก์ชันการทำงานของซอฟท์แวร์ ข้อจำกัดต่างๆ ของซอฟท์แวร์ ความก้าวหน้าของเทคโนโลยีปัจจุบันที่สามารถรองรับความต้องการองค์กร กระบวนการทำงานขององค์กร เพื่อใช้ประกอบในการพิจารณาเลือกซอฟท์แวร์ (Software Selection) ซึ่งทีมงานนี้ จะประกอบไปด้วย ตัวแทนจากฝ่ายหรือแผนกต่างๆ ที่จะมีผลประทบ จากการใช้งานซอฟท์แวร์ ERP ซึ่งบางคนอาจจะอยู่ทั้งใน Working Team และ Steering Committee ด้วยก็ได้ องค์กรขนาดเล็ก อาจมีทีมงานไม่กี่คน ส่วนองค์กรใหญ่ ก็จะจำนวนมากขึ้นตามสัดส่วน
2. Identify Problems and alternative solutions
เมื่อตั้งทีมงานทำงานได้แล้ว ทีมงานนี้ ก็จะต้องทำการวิเคราะห์ถึงปัญหา และความต้องการขององค์กร ว่าองค์กรมีปัญหาอะไร ควรเปลี่ยนแปลงอะไร ต้องการอะไรเพิ่มเติม เช่น ระบบเก่ามีปัญหา ไม่สามารถใช้งานได้ ระบบเก่าไม่รองรับกับความต้องการใหม่ๆ หรือระบบเก่า ใช้ได้ดีระดับหนึ่ง แต่ต้องการแค่บางฟังก์ชันการทำงานเพิ่มเติม หรือระบบเก่า ใช้ได้ดี แต่ผู้ให้บริการไม่มีการบริการที่ดี เป็นต้น
เมื่อทีมงานวิเคราะห์ ถึงปัญหาต่างๆ มาเป็นข้อๆ จึงลองหาทางเลือก หรือทางแก้ปัญหาดูว่า ความต้องการนั้น มีทางออกที่เป็นไปได้กี่วิธี อย่างไรบ้าง มีความจำเป็น ต้องเปลี่ยนซอฟท์แวร์หรือไม่ หรือสามารถหาทางแก้ไขอื่นได้ โดยไม่จำเป็นต้องเปลี่ยนซอฟท์แวร์ใหม่ เพราะต้องคำนึงเอาไว้เสมอว่า การเปลี่ยนซอฟท์แวร์ เป็นการเปลี่ยนแปลงที่ยุ่งยาก ใช้ทั้งกำลังคน เวลา และกำลังทรัพย์ไม่ใช่น้อย ดังนั้นการเปลี่ยนซอฟท์แวร์ จึงควรพิจารณาถึงความจำเป็น และความคุ้มค่าของการลงทุนเป็นสำคัญ หากเป็นไปได้ ควรมีการประเมินปัญหา ที่องค์กรประสบอยู่ ออกมาเป็นตัวเลข มูลค่าความเสียหาย เพื่อจะสามารถวิเคราะห์ เปรียบเทียบความคุ้มค่าในการลงทุน และความสมเหตุสมผล ในการตั้งงบประมาณ
3. Prepare Budget and Time Frame
เมื่อทีมงาน ได้วิเคราะห์ถึงข้อดีข้อเสีย และความคุ้มค่า ในการใช้ซอฟท์แวร์ เพื่อแก้ปัญหาต่างๆ และมีข้อสรุปว่า จะต้องเปลี่ยน หรือจัดหาซอฟท์แวร์ใหม่ และได้นำเสนอ Steering Committee แล้ว ควรจะได้ข้อสรุปจาก Steering Committee ถึงงบประมาณการลงทุน อย่างคร่าวๆ และระยะเวลาของแผนงาน เพื่อทีมงานจะได้มั่นใจว่า เมื่อเลือกซอฟท์แวร์ได้แล้ว องค์กรจะมีงบประมาณ จัดซื้อจัดจ้างได้ และมีแผนการปฏิบัติงานที่ชัดเจน
4. Hire an Independent Consultant
ในบางกรณี องค์กรมีโครงสร้างขนาดใหญ่ กระบวนการทำงานมีปริมาณและรายละเอียดมาก ต้องประสานงานกันกับหลายๆหน่วยงาน หลายๆแผนก ระบบซอฟท์แวร์มีขนาดใหญ่ มีรายละเอียดฟังก์ชันการทำงานที่ซับซ้อน จำเป็นต้องมีการว่าจ้างที่ปรึกษา (consultant) หรือบริษัทรับปรึกษา มาทำการเลือกซอฟท์แวร์ หรือติดตั้งซอฟท์แวร์ ซึ่งที่ปรึกษาเหล่านี้ โดยเฉพาะในรูปนิติบุคคล มักมีค่าบริการที่ค่อนข้างแพง และมักมีความรู้ความเชี่ยวชาญ ในซอฟท์แวร์แค่เพียงบางตัวเท่านั้น
ถ้าหากทีมงานคิดว่า ตนไม่มีความรู้ความสามารถในด้านนี้ ไม่สามารถหาว่าองค์กรต้องการอะไร องค์กรมีปัญหาอะไรที่ต้องการแก้ไข ซอฟท์แวร์จะเข้ามามีบทบาทในการแก้ปัญหาได้อย่างไร ก็นับว่ามีเหตุผลในการจ้างที่ปรึกษา
5. Requirements Gathering
ในขั้นตอนนี้ ทีมงานจะต้องทำการ สรุปความต้องการ (Requirement) ขององค์กร จากฝ่ายต่างๆ แผนกต่างๆ ว่าต้องการซอฟท์แวร์ที่มีความสามารถ (Features) อะไรบ้าง ออกมาเป็นข้อๆ ที่จะช่วยเพิ่มประสิทธิภาพในการทำงาน ลดความผิดพลาดในงาน ลดงานซ้ำซ้อน เช่น ระบบบัญชีต้องการความสามารถ Consolidate ข้ามบริษัท ระบบขายต้องการความสามารถ Multi Currency เป็นต้น ความต้องการ ด้านเทคโนโลยีเป็นอย่างไร เช่น ต้องการระบบที่สามารถใช้กับออฟฟิศหลายๆสาขา หลายๆโรงงาน ที่อยู่ห่างกันคนละจังหวัดได้ เป็นต้น
ควรมีการระบุความสำคัญ (priority) ของความต้องการแต่ละข้อ ว่ามีความสำคัญมากน้อยเพียงใด เช่น ต้องมี หรือ ควรมี
เมื่อสรุปความต้องการได้แล้ว บางองค์กรอาจมีการทำ เอกสาร RFP ที่สรุปความต้องการทั้งหมด เป็นเอกสารเพื่อเตรียม สำหรับผู้เสนอขายซอฟท์แวร์ (Vendors) ซึ่งใน RFP มักมีการอธิบายถึงองค์กรอย่างคร่าวๆ เพื่อให้ผู้เสนอซอฟท์แวร์ รู้จักองค์กรในบางส่วน และ List รายละเลียด Features ของซอฟท์แวร์ที่ต้องการ รวมถึงคำถามต่างๆ ที่องค์กรต้องการทราบจากผู้ขาย เช่น ประวัติบริษัท ข้อเสนอด้านเทคนิค ซอฟท์แวร์สามารถรองรับความต้องการแต่ละข้อได้หรือไม่ อย่างไร ราคาเท่าไร แผนการติดตั้ง (Implementation Plan) แผนการอบรม แผนการบำรุงรักษา เป็นต้น
6. Call Vendors
จากนั้นจึงหาข้อมูลจากหลายๆแหล่ง เช่นจากโฆษณาตามนิตยสาร สิ่งพิมพ์ หนังสือพิมพ์ อินเตอร์เน็ต หรือจากคู่ค้าที่ใช้ซอฟท์แวร์ต่างๆ เพื่อรวบรวมรายชื่อผู้ขายซอฟท์แวร์ ERP ทั้งหมด ที่คิดว่าจะติดต่อได้ เพื่อแจ้งให้ทราบว่าองค์กรมีความต้องการระบบ ERP และเรียกให้ผู้ขายทั้งหลายมารับ Requirements หรือ RFP เพื่อนำเสนอเป็น Proposal ต่อไป
7. Evaluate Proposal
เมื่อผู้ขายทั้งหลายมีการเสนอ Proposal ตามเวลานัดหมายแล้ว คณะทำงานก็จะต้องศึกษา Proposal ของผู้ขายแต่ละราย ว่าเสนอมาตรงกับความต้องการหรือไม่ อย่างไร โดยอาจทำเป็นตารางเปรียบเทียบ เช่น เสนอระบบอะไรบ้าง ราคาเท่าไร โดยอาจเปรียบเทียบ เฉพาะประเด็นที่สำคัญๆก่อน เช่นราคา เทคโนโลยี ความสามารถของระบบที่รองรับความต้องการองค์กรเป็นปริมาณเท่าไร ระบบที่เสนอมีโมดูลใดบ้าง ระยะเวลาการ Implement เป็นต้น
เมื่อได้ตารางเปรียบเทียบแล้ว ก็ทำการตัดผู้ขายบางรายที่น่าสนใจน้อยออกไปก่อนโดยค่อยๆตัดไปทีละราย เช่น เสนอราคาเกินงบประมาณไปมาก จนคิดว่าไม่น่าจะต่อรองราคาได้ หรือ เสนอระบบที่เป็นสาระสำคัญไม่ครบ หรือมีเทคโนโลยี ไม่เหมาะสมกับองค์กร เป็นต้น ขั้นตอนนี้ควรคัดเลือกให้เหลือเพียง 3-5 ราย ตามความเหมาะสม
8. Software Demonstration
เมื่อเลือกผู้ขายได้ 3-5 รายแล้ว จึงนัดผู้ขายแต่ละราย มาทำการสาธิตซอฟท์แวร์ ให้ทีมงานดู ขั้นตอนนี้เป็นขั้นตอนที่สำคัญมาก เพราะทีมงานจะได้มีโอกาสเห็น ถึงการทำงานของซอฟท์แวร์ และได้มีโอกาสซักถาม ถึงรายละเอียดของซอฟท์แวร์ จากผู้ขายโดยตรง ในการดูการสาธิต ของซอฟท์แวร์แวร์ควรดูไปตาม Flow ของการทำงานจริงขององค์กร เพื่อจะช่วยให้มีความเข้าใจได้ง่าย และสามารถเปรียบเทียบ กับสภาพการทำงานจริง ไม่ควรดูกระโดดข้ามไปข้ามมา ซึ่งหากมีข้อสงสัยประการใด ควรจะซักถามผู้สาธิตทันที
ถ้าผู้สาธิตตอบได้ไม่ชัดเจน ควรจำลองสถานการณ์ แล้วให้ผู้สาธิตทำให้ดู ไม่ควรแค่ถามว่า ซอฟท์แวร์ทำได้หรือไม่ แต่ควรดูในรายละเอียดลงไปว่า ทำได้อย่างไร ผลการทำงานถูกต้องหรือไม่ วิธีการของซอฟท์แวร์ มีความเป็นไปได้ เมื่อนำมาปฏิบัติงานจริง ซึ่งจะต้องทำทุกวัน หรือเมื่อมีรายการจำนวนมากๆหรือไม่การดูการสาธิตนี้ ไม่ควรจะเร่งรัดจนเกินไป เพราะอาจจะตกหล่นในบางรายละเอียด เพราะซอฟท์แวร์ ERP หรือ ซอฟท์แวร์ด้านบัญชีนั้น หากดูคร่าวๆ แล้วจะคล้ายคลึงกันมากๆ จะแตกต่างกัน ก็แต่ความสามารถ ในรายละเอียดปลีกย่อยลงไป หากการสาธิต ไม่สามารถดูได้จบ ภายในวันเดียว อาจจัดให้มีการสาธิตหลายวันได้ ซึ่งเป็นสิทธิของผู้ซื้อ ที่จะขอดูการสาธิต จนกว่าจะเข้าใจหรือมั่นใจ
ขณะดูการสาธิตควรมีการทำ Check List ของซอฟท์แวร์แต่ละราย เพื่อป้องกันการสับสน เมื่อผ่านการดูไปหลายๆราย ซึ่ง Check List นี้ ก็คือ List ของ Features ที่องค์กรต้องการ หรือเป็น List Features ที่ดีๆที่ซอฟท์แวร์บางตัวมีให้และสามารถนำมาใช้ประโยชน์ได้ หากซอฟท์แวร์ตัวใดที่มี Features มากเกินกว่าที่องค์กร จะมีโอกาสได้ใช้ภายใน 5 ปี ก็ควรสรุปเพิ่มเติม เป็นหมายเหตุไว้ เพราะการมี Features ที่มากมายเกินไป นอกจาก จะไม่ได้ช่วยเพิ่มประสิทธิภาพ ในการทำงานแล้ว ยังทำให้การ Implement และเรียนรู้ได้ยากตามไปด้วย
9. Software Testing (Optional)
เมื่อดูการสาธิตของซอฟท์แวร์แล้ว หากต้องการเพิ่มความมั่นใจมากขึ้น อาจขอให้ผู้ขายทำการทดสอบซอฟท์แวร์ ในสภานการณ์จำลองจากการทำงานจริง โดยอาจนำข้อมูลขององค์กรย้อนหลัง 15-30 วัน ทดลองป้อนข้อมูลเข้าซอฟท์แวร์มาตรฐาน เพื่อดูความมีเสถียรภาพ ความเร็ว และความถูกต้องของซอฟท์แวร์ เพราะในขั้นตอนการสาธิต จะไม่สามารถเห็นความมีเสถียรภาพ ความเร็วขณะใช้งานจริง และความถูกต้องของรายงานได้ เนื่องจากผู้ขายอาจหลีกเลี่ยงที่จะสาธิตบาง Features หาก Features นั้นทำงานได้ไม่ดีหรือยังมี Bug ได้ซึ่งขั้นตอนการทดสอบนี้ ซอฟท์แวร์บางตัวอาจสามารถทำได้โดยง่าย หากเป็นซอฟท์แวร์ที่สามารถติดตั้ง เรียนรู้และใช้งานได้ง่าย และไม่เป็นภาระมากเกินไปทั้งฝ่ายผู้ซื้อและผู้ขาย แต่ซอฟท์แวร์บางตัวอาจทำได้โดยยาก เพราะมีค่าใช้จ่ายในการอบรมและ Implement ที่สูง นอกเสียจากว่าจะสามารถตกลงกับผู้ขายได้ ในเรื่องเงื่อนไขและค่าใช้จ่ายในการทดสอบนั้น
10. Visit Vendor (Optional)
เมื่อดูรายละเอียดและทดสอบการทำงานของซอฟท์แวร์จนเป็นที่พอใจแล้ว ควรมีการไปเยี่ยมเยียนสำนักงานของผู้ขาย เพื่อดูว่ามีสภาพการทำงานกันเป็นอย่างไร มีความมั่นคง น่าเชื่อถือ และมีสไตล์การทำงานที่เข้ากับองค์กรของเราได้หรือไม่ เวลาต้องการความช่วยเหลือ และบริการจะไปตามได้ที่ไหน เป็นต้น หากตอนชมการสาธิตมีการไปชมถึงสถานที่ของผู้ขายแล้ว ก็ควรจะขอชมสำนักงานและสภาพการทำงานของผู้ขายไปด้วย เพื่อความรวบรัดลดขั้นตอน
11. Call References
จากนั้นให้ขอรายชื่อลูกค้าเก่า ของผู้ขายแต่ละรายว่ามีที่ไหนใช้บ้าง ชื่อผู้รับผิดชอบ และเบอร์โทรศัพท์เพื่อติดต่อ โดยเฉพาะที่มีรูปแบบธุรกิจคล้ายคลึง กับองค์กรของเรา เมื่อโทรไปซักถาม ควรถามว่าใช้ซอฟท์แวร์อะไร จากผู้ขายชื่ออะไร การใช้งานเป็นอย่างไร การบริการเป็นอย่างไร แต่อย่าลืมว่า ข้อมูลที่ได้รับอาจจะจริงหรือไม่จริงก็ได้ เพราะผู้ที่เราสนทนาด้วยไม่ได้รู้จักเราเป็นการส่วนตัว และเขาอาจมีเหตุผลบางอย่างที่จะไม่พูดความจริงทั้งหมดก็ได้
ดังนั้นทีมงานควรใช้วิจารณญาณ แยกแยะเองว่า ผู้ขายบริการดีหรือไม่ดี ซอฟท์แวร์ใช้ได้หรือไม่ได้ จริงหรือไม่ เพราะหากใช้ไม่ได้ควรสอบถามว่าไม่ได้เพราะอะไร แล้วจึงตรวจสอบกับข้อมูลของเราเอง ที่ได้รับทราบตอนชมการสาธิต และการทดสอบอีกครั้งว่าเป็นความจริงหรือไม่ หากไม่แน่ใจก็ควรมีการตรวจสอบกับทางผู้ขายอีกครั้ง ส่วนการบริการหากบอกว่าไม่ดี ควรถามสอบถามว่าไม่ดีอย่างไรเพราะในทางธุรกิจ คำว่า “บริการดี” เป็นคำพูดเชิงคุณภาพที่ต้องมีต้นทุนแฝงอยู่เสมอ พึงพิจารณาว่า “สิ่งที่ได้รับ” กับ “เงินที่จ่าย” สมเหตุสมผลกันหรือไม่มากกว่า เพราะการลงทุนระดับหมื่นจะให้มีบริการดีเทียบเท่าระดับล้านย่อมเป็นไปไม่ได้
12. Negotiation
ขั้นตอนการเจรจาต่อรองเป็นขั้นตอนหลังจากที่ได้ข้อมูลเพื่อประกอบการตัดสิน ใจด้านต่างๆ ครบถ้วนแล้ว จากนั้นจึงนำข้อมูลที่ได้ มาทำการวิเคราะห์ ให้คะแนน ถ่วงน้ำหนักในประเด็นต่างๆ ที่องค์กรให้ความสำคัญสูงสุดและรองลงไป เช่น ให้น้ำหนัก Features ของซอฟท์แวร์ 50% ราคา 30% การบริการ 10% แผนการ Implement 10% เป็นต้น แล้วจึงเรียงลำดับผู้ขายที่ได้คะแนนรวมจากสูงสุดไปต่ำสุด
เมื่อได้ชื่อของผู้ขายที่คิดว่า น่าสนใจที่สุด 3 อันดับแรก หากได้คะแนนใกล้เคียงกันมาก ควรเรียกทั้ง 3 รายมาเจารจาต่อรองเพื่อหาข้อเสนอที่คิดว่าดีที่สุด เป็นประโยชน์ต่อองค์กรมากที่สุด แล้วจึงนำเสนอ Steering Committee เพื่อตัดสินใจขั้นสุดท้ายอีกครั้ง ควรระวังการเจรจาลดราคาต่ำจนเกินไป อาจเป็นไปได้ยากที่ผู้พัฒนาระบบซอฟท์แวร์จะทำโครงการออกมาได้ดี เนื่องจากต้องไปลดต้นทุนการทำงาน หรือลดจำนวนเจ้าหน้าที่ทีมงานในภายหลัง ซึ่งท้ายที่สุดผู้ซื้อจะได้รับผลกระทบจากการลดราคาที่ต่ำเกินไปอยู่ดี
13. Make Decision and Review Contract
เมื่อทีมงาน นำเสนอทางเลือกต่างๆ เข้าสู่ที่ประชุม Steering Committee เพื่อพิจารณาตัดสินใจในขั้นสุดท้าย หากได้รับความเห็นชอบก็ดำเนินการเตรียมสัญญาเพื่อจัดซื้อจัดจ้างต่อไป แต่หากมีบางประเด็นที่ต้องทบทวน ก็อาจต้องเรียกผู้ขายเข้ามาเพื่อชี้แจงหรือเจรจาต่อรองกันใหม่ จนกว่าจะได้ข้อสรุปเป็นที่พอใจกันทั้ง 2 ฝ่าย
เมื่อได้ข้อสรุปข้อเสนอต่างๆจากผู้ชนะ การคัดเลือกแล้ว หากมูลค่าการลงทุนเป็นมูลค่าที่ค่อนข้างสูงหรือมีรายละเอียดข้อตกลงปลีกย่อย ค่อนข้างมาก ควรมีการทำสัญญาการซื้อขาย หรือสัญญาว่าจ้างไว้เป็นหลักฐาน เพื่อป้องกันกรณีเกิดความเข้าใจไม่ตรงกันในภายหลัง และจะได้เป็นกรอบ กติกาและบรรทัดฐานในการทำงานต่อไปหลังจากที่ได้ตกลงซื้อขายกันเรียบร้อยแล้ว
การพิจารณาเลือกซื้อซอฟท์แวร์ ERP หากทำตามแนวทาง ขั้นตอนดังกล่าวแล้ว อาจมีข้อเสียคือ มีขั้นตอนที่ต้องใช้เวลาอยู่บ้าง ซึ่งองค์กรควรจะมีแผนงานที่ชัดเจนและมีการเตรียมการไว้ล่วงหน้า ว่าจะใช้เวลาไปกับ แต่ละขั้นตอนนานเท่าใด ซึ่งโดยปกติ จะใช้เวลาทั้งหมดประมาณ 2-4 เดือนเป็นอย่างน้อย แต่การทำงานอย่างมีขั้นตอนนี้จะมีข้อดีคือ จะทำให้องค์กรได้ซอฟท์แวร์ที่ตรงกับความต้องการมากที่สุด ลดความเสี่ยงจากการซื้อมาแล้วแล้วใช้ไม่ได้ นอกจากนั้นการทำงานในรูปแบบของทีมงานหรือคณะบุคคล ยังเป็นการระดมความคิด เปิดโอกาสให้แค่ละคนมีส่วนร่วมในการตัดสินใจ และลดโอกาสในการทุจริตประพฤติมิชอบอีกด้วย
นอกจากนั้นยังช่วยให้ขั้นตอนการ Implement มีความราบรื่นมากขึ้น เพราะสุดท้ายแล้วทีมงานการคัดเลือกมักจะเป็นทีมงานเดียวกับทีมงานการ Implement ด้วย หากทีมงาน Implement ได้รับรู้รับทราบและยอมรับในการเปลี่ยนแปลงซอฟท์แวร์มาโดยตลอดและมีส่วนร่วม ในการคัดเลือกนั้นด้วย นอกจากจะไม่ก่อให้เกิดการต่อต้านแล้วกลับ
จะได้ รับความร่วมมืออย่างเต็มที่ในขั้นตอนการ Implement แต่หากทีมงาน Implement ไม่ได้รับรู้รับทราบถึงการเปลี่ยนแปลงระบบซอฟท์แวร์มาก่อนเลย และการเปลี่ยนซอฟท์แวร์เกิดจากอำนาจการตัดสินใจของผู้บริหารแต่เพียงฝ่าย เดียว สุดท้ายอาจเกิดการรวมหัวกันต่อต้าน ไม่ยอมรับ ไม่ให้ความร่วมมือ ทำให้การ Implement เป็นไปด้วยความยากลำบาก และล้มเหลวได้ในที่สุด
ดูต้นฉบับได้ที่ http://plusmainfotech.com/news_and_articles.php#6
แนะนำหนังสือ Managing Lean Manufacturing using Microsoft Dynamics AX 2009
ขอแนะนำหนังสือ สำหรับ Module Manufacturing
Amazon.com

ความคิดเห็น บรรณาธิการ
Review การบริหารทรัพยากร Manufacturing การเข้าใจแนวคิดหลักและการใช้งานซอฟต์แวร์ที่ เกี่ยวข้องกับการผลิตแบบลีน
คำแนะนำสำหรับผู้ใช้ โปรแกรม การผลิตแบบลีนกับ Dynamics AX -- Hafer Andy, Director ,Group Dynamics AX User
หมายเหตุ
ดูความหมาย การผลิตแบบลีน,ระบบ คัมบัง ได้ที่ Link :http://thai-axapta.blogspot.com/2010/07/business-process-change-management.html
โดย SuperS
Amazon.com
ความคิดเห็น บรรณาธิการ
Review การบริหารทรัพยากร Manufacturing การเข้าใจแนวคิดหลักและการใช้งานซอฟต์แวร์ที่ เกี่ยวข้องกับการผลิตแบบลีน
คำแนะนำสำหรับผู้ใช้ โปรแกรม การผลิตแบบลีนกับ Dynamics AX -- Hafer Andy, Director ,Group Dynamics AX User
หนังสือเล่มนี้แสดงถึงความพยายามที่ถูกต้อง ก่อนที่จะใช้ความคิดทั้งหมดที่ตลาดมี การทำลายและวางไว้ในที่เดียวกับระดับของโครงสร้าง หนังสือเล่มนี้จะช่วยให้ผู้อ่าน เห็นว่าลีนและ ERP สามารถทำงานร่วมกันและมีแพลตฟอร์มที่ช่วยให้ผู้อ่านลดของเสียในกิจการของตน ผมยกย่องให้คุณ -- Andrew Rumney, Solutions กรรมการ eBECS จำกัด (England)
รายละเอียดหนังสือ
การ จัดการ ซัพพลายเชนรวม (SCM) ระบบเป็นปัจจัยสู่ความสำเร็จที่สำคัญสำหรับการดำเนินงานมีประสิทธิภาพในการ ผลิตแบบลีน การทำงาน ซอฟต์แวร์ที่จะต้องสามารถจัดการรูปแบบในสถานการณ์ยันเป็นการเปลี่ยนแปลงที่ เชื่อมโยงกับความพยายามพัฒนาอย่างต่อเนื่องและกำหนดขั้นตอนการผลิตแบบลีน หนังสือ เล่มนี้อธิบายการทำ งานซอฟต์แวร์เพื่อรองรับสถานการณ์การผลิตลีน, กำหนดโดยการทำงานในรุ่นล่าสุดของ Microsoft Dynamics AX 2009 นอก จากนี้ยังครอบคลุมถึง วิธีการดั้งเดิมเหล่านี้สถานการณ์เดียวกัน มันอธิบายความแตกต่างทางความคิด ที่เพิ่มขึ้นระหว่างวิธี การแบบลีนและดั้งเดิมและช่วยให้ผู้อ่านที่มีดั้งเดิม SCM / ERP พื้นหลังเข้าใจคำศัพท์และแนวคิดใหม่แบบ ผู้ อ่านเป้าหมาย รวมถึงบุคคลที่ดำเนินการหรือพิจารณา Dynamics AX เพื่อสนับสนุนโครงการผลิตแบบลีนให้เป็นผู้ขายและบริการให้ดำเนินการ
เพิ่มเติมจาผู้แน่ะนำ
หนังสือเล่มนี้ พูดถึงศาสตร์ การนำระบบ ERP ,ระบบการผลิตแบบลีน และ ระบบคัมบัง (Kan ban) มาใช้ในระบบ Microsoft Dynamics AX 2009 โดย
Chapter 1 จะแนะนำถึง การผลิตแบบลีน
Chapter 2 การ ผลิตแบบลีน และการนำมาใช้
Chapter 3 ระบบ คัมบัง แบบ Fixed (Kan ban)
Chapter 4 คัมบัง แบบ Fixed (Kan ban) กับการจ้างผลิต
Chapter 5 การผลิตแบบ Cell
Chapter 6 PTO การเติมเต็ม โดย คัมบัง
Chapter 7 PTO การเติมเต็ม โดย ตาม Mark to Order
Chapter 8 ระบบบัญชีกับ การผลิตแบบลีน
Chapter 9 ตารางเวลา การรับ Order การผลิตแบบลีน
Chapter 10 การทดแทน ระบบการผลิต แบบ Approaches ด้วย การผลิตแบบลีน
Chapter 11 สรุปภาพรวมของ ระบบการผลิตแบบลีน
เพิ่มเติมจาผู้แน่ะนำ
หนังสือเล่มนี้ พูดถึงศาสตร์ การนำระบบ ERP ,ระบบการผลิตแบบลีน และ ระบบคัมบัง (Kan ban) มาใช้ในระบบ Microsoft Dynamics AX 2009 โดย
Chapter 1 จะแนะนำถึง การผลิตแบบลีน
Chapter 2 การ ผลิตแบบลีน และการนำมาใช้
Chapter 3 ระบบ คัมบัง แบบ Fixed (Kan ban)
Chapter 4 คัมบัง แบบ Fixed (Kan ban) กับการจ้างผลิต
Chapter 5 การผลิตแบบ Cell
Chapter 6 PTO การเติมเต็ม โดย คัมบัง
Chapter 7 PTO การเติมเต็ม โดย ตาม Mark to Order
Chapter 8 ระบบบัญชีกับ การผลิตแบบลีน
Chapter 9 ตารางเวลา การรับ Order การผลิตแบบลีน
Chapter 10 การทดแทน ระบบการผลิต แบบ Approaches ด้วย การผลิตแบบลีน
Chapter 11 สรุปภาพรวมของ ระบบการผลิตแบบลีน
ตัวอย่าง Contents
หมายเหตุ
ดูความหมาย การผลิตแบบลีน,ระบบ คัมบัง ได้ที่ Link :http://thai-axapta.blogspot.com/2010/07/business-process-change-management.html
โดย SuperS
สมัครสมาชิก:
บทความ (Atom)